กลวิธานการเกิดมลภาวะอากาศ PM2.5 ในประเทศไทย เดือนมกราคม ๒๕๖๒

ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุลราชบัณฑิต ช่วงเดือนมกราคม ๒๕๖๒ ที่ผ่านไป ได้เกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาด PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานบริเวณกรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียงอย่างน้อย ๑๒ จังหวัด ได้แก่ นครปฐม ราชบุรี นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง อยุทยา อ่างทอง และปราจีนบุรี ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ …

การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ ๔ และรูปแบบเศรษฐกิจใหม่

ศ. ดร.ศุภชัย  ปทุมนากุลภาคีสมาชิก ในปัจจุบัน โลกกำลังเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (The Fourth Industrial Revolution) ซึ่งเป็นการปฏิวัติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งแตกต่างจากการปฏิวัติทั้ง 3 ครั้งที่ผ่านมา ที่การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ในขณะที่การปฏิวัติครั้งที่ 4 นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและเป็นแบบเอกซ์โปเนนเชียล (Exponential) ที่รวดเร็วมาก นอกจากเทคโนโลยีที่เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 แล้ว ปัจจัยทาง …

กัญชง/กัญชา

ศ. ดร.พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์ ภาคีสมาชิก กัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa subspecies sativa กัญชามีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกัน แต่อยู่ใน subsp. indica ชื่อสามัญที่นิยมใช้เรียกกัญชง คือ hemp ส่วนกัญชา คือ cannabis ส่วนชื่อพื้นเมืองก็เรียกแตกต่างกันออกไปอีกมากมาย พืชทั้งสองมีสารสาคัญในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids) มากกว่า 130 ตัว …

โรคเหตุแร่ใยหินในประเทศไทย: ประสบการณ์ในอดีต ผลงานปัจจุบัน และความหวังในอนาคต Asbestos-Related diseases in Thailand: Past Experience, Current & Future Perspective

ศ. ดร. นพ.สมชัย  บวรกิตติ ราชบัณฑิต การบรรยายวันนี้เป็นการเล่าประสบการณ์ในอดีตและปัจจุบันที่เกี่ยวกับโรคเหตุแร่ใยหินและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้ตั้งความหวังที่จะประสบผลที่จะบังเกิดในอนาคต ภาพ: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Asbestos-fibres.JPG

ภาพรวมของเทคโนโลยีการรีไซเคิลพลาสติก: กรณีศึกษาของประเทศญี่ปุ่น

ดร. วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุลราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาศาสตราจารย์กิตติคุณและศาสตราภิชานแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศาสตราจารย์กิตติคุณแห่งสถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียวที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยี (เต็มเวลา) บริษัท เอสซีจีเคมิคอลส์ จำกัด บทคัดย่อเศรษฐกิจแบบวงกลม (Circular Economy) ของพลาสติกต้องการให้มีการใช้พลาสติกลดลง (ในแง่ปริมาณการใช้งาน) นำกลับมาใช้ซ้า (หลายครั้ง) และนามารีไซเคิล (ในรูปแบบใหม่หรือแบบเดิม) ดังนั้น การกาจัดทิ้งพลาสติกในหลุมฝังกลบ (ทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย), ในทะเล / มหาสมุทร (การทุ่มทิ้งที่ผิดกฎหมาย) …

อุตสาหกรรมเกษตร : แมลงกินได้

ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริราชบัณฑิต , สำนักวิทยาศาสตร์ บทคัดย่อแมลงเป็นสัตว์ที่มีบรรพบุรุษและมีวิวัฒนาการมายาวนานกว่า ๓๐๐ ล้านปี แมลงเป็นสัตว์ที่มีมากที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์มากกว่า ๑ ล้านชนิด ในจำนวนนี้มีทั้งแมลงที่ให้คุณและให้โทษ พบว่ามีเพียง ๒,๐๐๐ ชนิด ที่เป็นศัตรูทำลายพืชผลทางการเกษตร และเข้ามารบกวนชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ หรืออาจก่อโรคให้กับมนุษย์ได้ นอกจากนี้แมลงส่วนใหญ่เป็นแมลงที่มีประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ทางการแพทย์ และที่สำคัญแมลงยังเป็นอาหารของมนุษย์ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ในอดีต จากการศึกษาของนักวิจัยกลุ่มต่าง …

เศรษฐกิจแบบแบ่งปัน (Sharing Economy)

ศ. ดร.ศุภชัย ปทุมนากุลภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ Sharing Economy หรือเศรษฐกิจแบ่งปัน เป็นรูปแบบทางธุรกิจ (Business Model) ใหม่ที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 ตัวอย่างที่สำคัญของธุรกิจแบบ Sharing Economy คือ Uber และ airbnb เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของธุรกิจ คือการเชื่อมต่อผู้ซื้อและผู้ขายผ่าน Digital Platform …

การผลิตข้าวนึ่งโดยไม่ใช้ไอน้ำด้วยเทคนิคฟลูอิไดเซซันลมร้อน และฟลูอิไดเซวันลมร้อนร่วมกับไมโครเวฟ

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์1 ราชบัณฑิตสมเกียรติ ปรัชญาถาวร2ธนิต สวัสดิเสวี1และอีลีหย๊ะ สนิโซ1 คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ข้าวนึ่งเป็นที่นิยมบริโภคกันในหลายประเทศและเป็นสินค้าส่งออกด้านการเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย กรรมวิธีการผลิตข้าวนึ่งโดยทั่วไป เริ่มจากการแช่ข้าวเปลือกที่มีปริมาณอะมิโลสสูง ในน้ำร้อน 80C นานประมาณ 4 – 5 ชั่วโมง จากนั้นจึงนำเข้าหม้อนึ่งด้วยไอน้ำที่มีความดันสูงกว่าบรรยากาศเล็กน้อย นานประมาณ 10 – 15 นาที …