ประชุมสำนักวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ ๕/๒๕๖๗

วันพุธที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๓๐ น. ศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ อดุลพันธุ์ ทำหน้าที่ประธานดำเนินการประชุมสำนักวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ ๕/๒๕๖๗ โดยมีราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม ๔๐๑ ชั้น ๔ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา และผ่านระบบ Zoom …

สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา จัดโครงการปาฐกถาราชบัณฑิตสัญจร สำนักวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ การประชุมวิชาการเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาชีวเภสัชภัณฑ์ : จากนโยบายสู่อุตสาหกรรมการผลิต”

สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา จัดโครงการปาฐกถาราชบัณฑิตสัญจร สำนักวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ การประชุมวิชาการเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาชีวเภสัชภัณฑ์ : จากนโยบายสู่อุตสาหกรรมการผลิต”        เมื่อวันศุกร์ที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ อาคารศูนย์เรียนรวมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น ๘ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม  โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนด้านเภสัชกรรม …

ประชุมสำนักวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ ๔/๒๕๖๗

วันพุธที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๓๐ น. ศาสตราจารย์ ดร. ภก.ชยันต์ พิเชียรสุนทร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ เป็นประธานการประชุมสำนักวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ ๔/๒๕๖๗ โดยมีราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม ๔๐๑ ชั้น ๔ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา …

โรคพาร์กินสันและการป้องกัน ความฝันหรือความจริงที่เป็นไปได้

โครงการปาฐกถาราชบัณฑิตสัญจร สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา การประชุมวิชาการ เรื่อง “โรคพาร์กินสันและการป้องกัน ความฝันหรือความจริงที่เป็นไปได้” เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เวลา ๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. สำนักวิทยาศาสตร์แห่งราชบัณฑิตยสภาได้จัดโครงการปาฐกถาราชบัณฑิตสัญจร สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา การประชุมวิชาการ เรื่อง “โรคพาร์กินสันและการป้องกัน ความฝันหรือความจริงที่เป็นไปได้” ขึ้น ณ ห้องประชุมศุภมิตร …

ความหลากหลายทางพันธุกรรม: ฐานรากของการปรับปรุงพันธุ์

โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร ภาคีสมาชิกประเภทวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาการประมง

การฟื้นฟูปอดด้วยตนเองของผู้หายป่วยจากโควิด-19 และการรักษาวิธีใหม่

Self-Pulmonary Rehabilitation in COVID-19 Survivorsand Potential Novel Therapies By Professor Areerat Suputtitada, M.D. การบรรยายพิเศษ“การฟื้นฟูปอดด้วยตนเองของผู้หายป่วยจากโควิด-๑๙ และการรักษาวิธีใหม่ที่มีศักยภาพ” โดย ศาสตราจารย์แพทย์หญิงอารีรัตน์ สุพุทธิธาดาที่ปรึกษาและอาจารย์ประจำ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บล็อกเชน: เทคโนโลยีป่วนโลก

ศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และ อาจารย์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบบบล็อกเชนเป็นระบบที่จะมาเปลี่ยนโลก หรือป่วนโลก ทั้งด้านการค้า การลงทุน การบริหารราชการ การดำเนินชีวิตในสังคม การศึกษา การใช้ชีวิตประจำวัน ที่ทุกคนต้องเรียนรู้. บล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ (Shared Database) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลบัญชีแยกประเภทแบบกระจายศูนย์ (Distributed …

การประชุมเชิงวิชาการ โครงการอาศรมความคิดด้านอาหาร สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา ร่วมกับ มูลนิธิวิทยาศาสตร์การเกษตร ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ไลฟ์การประชุมฯ ในช่วงเช้า ไลฟ์การประชุมฯ ในช่วงบ่าย ดาวน์โหลดไฟล์ การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยภายใต้วิกฤตการระบาดของโควิด 19 – คุณเอ็นนู ซื่อสุวรรณ

ประเภทของเงินดิจิตอลและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

ศ.ดร. ธนารักษ์ ธีระมั่นคงภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อเดือนต้นเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ที่ผ่านมานี้ ได้มีข่าวว่าธนาคารกลางจีน (PBoC) ได้เริ่มมีการทดสอบเงินหยวนดิจิทัลแล้วใน ๔ เมืองหลัก คือ ซูโจว เซินเจิ้น สงอัน และเฉิงตู. ความพยายามของจีนในการผลักดันสกุลเงินดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อช่วงราวๆ ปีค.ศ. ๒๐๑๔ เมื่อรัฐบาลจีนต้องการที่จะลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ. แม้ทางการจีนในช่วงแรก ของยุคของรัฐบาลสีจิ้นผิงจะไม่ยอมรับเงินคริปโตเคอร์เรนซี …