ความหลากหลายทางพันธุกรรม: ฐานรากของการปรับปรุงพันธุ์

โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร ภาคีสมาชิกประเภทวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาการประมง

การฟื้นฟูปอดด้วยตนเองของผู้หายป่วยจากโควิด-19 และการรักษาวิธีใหม่

Self-Pulmonary Rehabilitation in COVID-19 Survivorsand Potential Novel Therapies By Professor Areerat Suputtitada, M.D. การบรรยายพิเศษ“การฟื้นฟูปอดด้วยตนเองของผู้หายป่วยจากโควิด-๑๙ และการรักษาวิธีใหม่ที่มีศักยภาพ” โดย ศาสตราจารย์แพทย์หญิงอารีรัตน์ สุพุทธิธาดาที่ปรึกษาและอาจารย์ประจำ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บล็อกเชน: เทคโนโลยีป่วนโลก

ศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และ อาจารย์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบบบล็อกเชนเป็นระบบที่จะมาเปลี่ยนโลก หรือป่วนโลก ทั้งด้านการค้า การลงทุน การบริหารราชการ การดำเนินชีวิตในสังคม การศึกษา การใช้ชีวิตประจำวัน ที่ทุกคนต้องเรียนรู้. บล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ (Shared Database) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลบัญชีแยกประเภทแบบกระจายศูนย์ (Distributed …

การประชุมเชิงวิชาการ โครงการอาศรมความคิดด้านอาหาร สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา ร่วมกับ มูลนิธิวิทยาศาสตร์การเกษตร ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ไลฟ์การประชุมฯ ในช่วงเช้า ไลฟ์การประชุมฯ ในช่วงบ่าย ดาวน์โหลดไฟล์ การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยภายใต้วิกฤตการระบาดของโควิด 19 – คุณเอ็นนู ซื่อสุวรรณ

ประเภทของเงินดิจิตอลและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

ศ.ดร. ธนารักษ์ ธีระมั่นคงภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อเดือนต้นเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ที่ผ่านมานี้ ได้มีข่าวว่าธนาคารกลางจีน (PBoC) ได้เริ่มมีการทดสอบเงินหยวนดิจิทัลแล้วใน ๔ เมืองหลัก คือ ซูโจว เซินเจิ้น สงอัน และเฉิงตู. ความพยายามของจีนในการผลักดันสกุลเงินดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อช่วงราวๆ ปีค.ศ. ๒๐๑๔ เมื่อรัฐบาลจีนต้องการที่จะลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ. แม้ทางการจีนในช่วงแรก ของยุคของรัฐบาลสีจิ้นผิงจะไม่ยอมรับเงินคริปโตเคอร์เรนซี …

เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมด้านปัญญาประดิษฐ์กับภาษาไพทอน

ศ.ดร. ธนารักษ์ ธีระมั่นคงภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์มีการพัฒนาไปถึงระดับที่สามารถนำมาใช้งานได้จริงและถูกใช้กันแพร่หลายมาก ทั้งในวงการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึง ด้านสังคมและด้านอุตสาหกรรม. เช่นเดียวกับการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ก็จำเป็นต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ช่วยในการสร้างสรรค์สิ่งของเหล่านั้น. เครื่องมือเป็นสิ่งสำคัญทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงาน/ชิ้นงานสามารถทำผลงาน/ชิ้นงานออกมาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และแม่นยำ ไม่ผิดพลาดหรือผิดพลาดน้อย. ในการพัฒนาระบบหรือโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์นั้น เราสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้พัฒนาโปรแกรมหรือใช้สร้างระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปได้. อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันหลักการและเทคนิคในระบบปัญญาประดิษฐ์เริ่มมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนากล่องอุปกรณ์เครื่องมือในลักษณะของฟังก์ชัน (function) …

กู้วิกฤตการณ์ PM2.5 ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม

การเสวนาสาธารณะ กู้วิกฤตการณ์ PM2.5 ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม ๘๐๑ อาคารจามจุรี ๑๐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย