ความหลากหลายทางพันธุกรรม: ฐานรากของการปรับปรุงพันธุ์

โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร ภาคีสมาชิกประเภทวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาการประมง

บล็อกเชน: เทคโนโลยีป่วนโลก

ศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และ อาจารย์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบบบล็อกเชนเป็นระบบที่จะมาเปลี่ยนโลก หรือป่วนโลก ทั้งด้านการค้า การลงทุน การบริหารราชการ การดำเนินชีวิตในสังคม การศึกษา การใช้ชีวิตประจำวัน ที่ทุกคนต้องเรียนรู้. บล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ (Shared Database) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลบัญชีแยกประเภทแบบกระจายศูนย์ (Distributed …

ประเภทของเงินดิจิตอลและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

ศ.ดร. ธนารักษ์ ธีระมั่นคงภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อเดือนต้นเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ที่ผ่านมานี้ ได้มีข่าวว่าธนาคารกลางจีน (PBoC) ได้เริ่มมีการทดสอบเงินหยวนดิจิทัลแล้วใน ๔ เมืองหลัก คือ ซูโจว เซินเจิ้น สงอัน และเฉิงตู. ความพยายามของจีนในการผลักดันสกุลเงินดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อช่วงราวๆ ปีค.ศ. ๒๐๑๔ เมื่อรัฐบาลจีนต้องการที่จะลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ. แม้ทางการจีนในช่วงแรก ของยุคของรัฐบาลสีจิ้นผิงจะไม่ยอมรับเงินคริปโตเคอร์เรนซี …

เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมด้านปัญญาประดิษฐ์กับภาษาไพทอน

ศ.ดร. ธนารักษ์ ธีระมั่นคงภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์มีการพัฒนาไปถึงระดับที่สามารถนำมาใช้งานได้จริงและถูกใช้กันแพร่หลายมาก ทั้งในวงการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึง ด้านสังคมและด้านอุตสาหกรรม. เช่นเดียวกับการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ก็จำเป็นต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ช่วยในการสร้างสรรค์สิ่งของเหล่านั้น. เครื่องมือเป็นสิ่งสำคัญทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงาน/ชิ้นงานสามารถทำผลงาน/ชิ้นงานออกมาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และแม่นยำ ไม่ผิดพลาดหรือผิดพลาดน้อย. ในการพัฒนาระบบหรือโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์นั้น เราสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้พัฒนาโปรแกรมหรือใช้สร้างระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปได้. อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันหลักการและเทคนิคในระบบปัญญาประดิษฐ์เริ่มมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนากล่องอุปกรณ์เครื่องมือในลักษณะของฟังก์ชัน (function) …

ประวัติและวิวัฒนาการของการทำความเย็นและการปรับอากาศ

ศ. ดร.สมชาย วงศ์วิเศษราชบัณฑิต ประวัติความเป็นมาโดยสังเขปของ การทำความเย็นและการปรับอากาศ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ.1834 Jacob Perkins ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้คอมเพรสเซอร์ แบบมือโยก ต่อมาในปี 1858 Ferdinand’s Carré ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องทำความเย็นแบบดูดกลืนขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้น้ำเป็นตัวดูดซึมและใช้ ammonia เป็นสารทำความเย็น ในปี 1902 Willis …

เครื่องพิมพ์ ๓ มิติ (3D Printer) กับการพัฒนาอุตสาหกรรม

ศ. ดร.ศุภชัย ปทุมนากุลภาคีสมาชิก เทคโนโลยีการพิมพ์ ๓ มิติ หรือ 3D Printing เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีสมัยใหม่และเป็น Disruption Technology ที่จะมีส่วนสำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ ๔ (The 4th Industrial Revolution) ในปัจจุบัน เทคโนโลยีการพิมพ์ ๓ มิติ ได้มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มีเทคโนโลยีการพิมพ์ในหลายรูปแบบ สามารถทำการพิมพ์โดยใช้วัสดุได้หลากหลายมากกว่า …

ระบบบริหารจัดการทุนสนับสนุนการวิจัยในช่วงเปลี่ยนผ่าน

ศ. ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐราชบัณฑิตศ. นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพภาคีสมาชิกศ. ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไลภาคีสมาชิก เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรม ไปจนถึงการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยมีเป้าหมายตรงตามยุทธศาสตร์ของประเทศ และความต้องการของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จึงได้มีการดาเนินการปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรมมาเป็นลาดับ และล่าสุดคือ มีการจัดตั้งสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เพื่อการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และทิศทางที่เป็นเอกภาพ …

แนวทางการประเมินหน่วยวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทย

ศ. ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์  ราชบัณฑิตและศ. ดร.สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา  ภาคีสมาชิก ปัจจุบัน การประเมินหน่วยงานและบุคลากรวิจัยใช้เกณฑ์ที่หลากหลาย นอกจากนี้ ดัชนีชี้วัดบางตัวยังมีลักษณะเป็นเชิงคุณภาพค่อนข้างมาก จึงควรมีแนวทางการประเมินที่ใช้ดัชนีชี้วัดเชิงปริมาณที่วัดได้ง่ายและชัดเจน ด้วยเหตุนี้ ผู้บรรยายจึงนำเสนอแนวทางการประเมินหน่วยงานและบุคลากรวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยในส่วนของการประเมินหน่วยงานวิจัย (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานที่สังกัดมหาวิทยาลัย) อาจใช้ดัชนี้ชี้วัดดังต่อไปนี้ (๑) จำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล Scopus (หรือฐานข้อมูล TCI …