ความหลากหลายทางชีวภาพและการเลี้ยงผึ้งในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

ศ. ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ มิน อู เหลียง หลักสูตรสหวิทยาการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์นับเป็นประเทศหนึ่งที่ยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในระดับสูง โดยเฉพาะในแง่ของความหลากหลายทางชีวภาพของผึ้ง โดยจากการสำรวจ พบว่ามีผึ้งในสกุล Apis ทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ A. andreniformis, A. florea, A. …

ระบบบริหารคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๑๕

ศ. ดร.ปารเมศ ชุติมา ภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบบบริหารคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารระบบคุณภาพ และได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. ๑๙๘๗ โดย International Organization for Standardization (ISO) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่พัฒนาและตีพิมพ์มาตรฐานต่าง ๆ ในระดับสากล (ปัจจุบันมีมาตรฐานต่าง ๆ แล้วมากกว่า …

พืชดัดแปรพันธุกรรม: เราจะไปทางไหนดี?

ศ. ดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ ภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ GMO หรือ Genetically modified organisms ได้แก่ สิ่งมีชีวิต (พืช สัตว์ จุลินทรีย์) ที่ถูกดัดแปรพันธุกรรมด้วยกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม โดยตัดเอายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปใส่ในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งปกติไม่ผสมพันธุ์กันตามธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนั้นมีคุณลักษณะหรือสมบัติตามที่ต้องการ ในส่วนของพืชดัดแปรพันธุกรรม (GM plant) นั้น หมายถึง …

การเรียนการสอนในยุคดิจิทัลเพื่อประเทศไทย 4.0

ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ประชาชาติแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศที่ลงทุนด้านการศึกษาสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวคือประมาณร้อยละ ๗๖ ของรายได้ ฯ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยกลับได้รับการจัดอันดับด้านการศึกษาในระดับที่ต่ำมาก (เช่น อยู่ในลำดับที่ ๘๖ จากประเทศที่เข้าร่วมรับการจัดอันดับ ๑๔๔ ประเทศทั่วโลก หรืออยู่ในลำดับที่ ๗ ในกลุ่มประเทศอาเซียน จากการจัดอันดับโดย …

การพัฒนาภาวะพลเมืองระดับโลก เพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของมวลมนุษย์

ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ทุกวันนี้ความท้าทายต่าง ๆ ที่มนุษย์ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะในแง่ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขยายตัวของประชากรเมือง และภัยธรรมชาติ มิได้ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในประเทศใดประเทศหนึ่ง ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคโลกาภิวัตน์ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่งในโลกจะปรากฎต่อสายตาของคนทั้งโลกภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที นอกจากนี้ ประชาคมในประเทศต่าง ๆ จะมีความหลากหลาย ทั้งทางด้านภาษาและวัฒนธรรม