สรุปสถานการณ์มลพิษอากาศ ฝุ่นPM2.5 ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในช่วงสัปดาห์นี้ (วันที่ 31 มกราคม ถึง 3 กุมภาพัธ์ุ 2563)

โดย ศ.เกียรติคุณ นพ. สุรพล อิสรไกรศีลราชบัณฑิตและนายกราชบัณฑิตยสภาแห่งประเทศไทย

ข้อมูลใหม่-กลวิธานการเกิดมลภาวะอากาศฝุ่น PM2.5 รุนแรง ในเดือนมกราคม 2562 และ 2563

ผู้ร่วมเสวนาสาธารณะครั้งที่ 1 ดังนี้ ศ.เกียรติคุณ นพ. สุรพล อิสรไกรศีล ราชบัณฑิตและนายกราชบัณฑิตยสภาแห่งประเทศไทย ศ.เกียรติคุณ ดร. นสพ. ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ราชบัณฑิตและประธานประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาแห่งประเทศไทย ศ.เกียรติคุณ ดร. เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต ราชบัณฑิตและประธานอาศรมระบบโลกศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ราชบัณฑิตยสภาแห่งประเทศไทย นางอัษฎาพร ไกรพานนท์ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศ.ดร.ธนวัฒน์ …

ประวัติและวิวัฒนาการของการทำความเย็นและการปรับอากาศ

ศ. ดร.สมชาย วงศ์วิเศษราชบัณฑิต ประวัติความเป็นมาโดยสังเขปของ การทำความเย็นและการปรับอากาศ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ.1834 Jacob Perkins ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้คอมเพรสเซอร์ แบบมือโยก ต่อมาในปี 1858 Ferdinand’s Carré ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องทำความเย็นแบบดูดกลืนขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้น้ำเป็นตัวดูดซึมและใช้ ammonia เป็นสารทำความเย็น ในปี 1902 Willis …

เครื่องพิมพ์ ๓ มิติ (3D Printer) กับการพัฒนาอุตสาหกรรม

ศ. ดร.ศุภชัย ปทุมนากุลภาคีสมาชิก เทคโนโลยีการพิมพ์ ๓ มิติ หรือ 3D Printing เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีสมัยใหม่และเป็น Disruption Technology ที่จะมีส่วนสำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ ๔ (The 4th Industrial Revolution) ในปัจจุบัน เทคโนโลยีการพิมพ์ ๓ มิติ ได้มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มีเทคโนโลยีการพิมพ์ในหลายรูปแบบ สามารถทำการพิมพ์โดยใช้วัสดุได้หลากหลายมากกว่า …

ระบบบริหารจัดการทุนสนับสนุนการวิจัยในช่วงเปลี่ยนผ่าน

ศ. ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐราชบัณฑิตศ. นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพภาคีสมาชิกศ. ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไลภาคีสมาชิก เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรม ไปจนถึงการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยมีเป้าหมายตรงตามยุทธศาสตร์ของประเทศ และความต้องการของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จึงได้มีการดาเนินการปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรมมาเป็นลาดับ และล่าสุดคือ มีการจัดตั้งสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เพื่อการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และทิศทางที่เป็นเอกภาพ …

แนวทางการประเมินหน่วยวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทย

ศ. ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์  ราชบัณฑิตและศ. ดร.สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา  ภาคีสมาชิก ปัจจุบัน การประเมินหน่วยงานและบุคลากรวิจัยใช้เกณฑ์ที่หลากหลาย นอกจากนี้ ดัชนีชี้วัดบางตัวยังมีลักษณะเป็นเชิงคุณภาพค่อนข้างมาก จึงควรมีแนวทางการประเมินที่ใช้ดัชนีชี้วัดเชิงปริมาณที่วัดได้ง่ายและชัดเจน ด้วยเหตุนี้ ผู้บรรยายจึงนำเสนอแนวทางการประเมินหน่วยงานและบุคลากรวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยในส่วนของการประเมินหน่วยงานวิจัย (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานที่สังกัดมหาวิทยาลัย) อาจใช้ดัชนี้ชี้วัดดังต่อไปนี้ (๑) จำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล Scopus (หรือฐานข้อมูล TCI …

หนังสือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ

หนังสือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ปกหนังสือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ปกในหนังสือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ

บทคัดย่อ การบรรยายทางวิชาการของสมาชิกสํานักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑

ดาวน์โหลดหนังสือ บทคัดย่อ การบรรยายทางวิชาการของสมาชิกสํานักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ ดาวน์โหลดปกหนังสือ บทคัดย่อ การบรรยายทางวิชาการของสมาชิกสํานักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑

นโยบายพลังงานเพื่อลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกและมลพิษ

รายงานการประชุมระดมความคิดเห็นเรื่องนโยบายพลังงานเพื่อลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกและมลพิษโดยสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาโครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ.-สกว.