การแตกตัวพอลิสไตรีนที่ใช้แล้วโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยากรด

อราดา วงศ์ศุภลักษณ์1 สมศักดิ์ ดารงค์เลิศ1,21 ภาควิชาเคมีเทคนิค ตณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย2 ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรด 3 ชนิด ได้แก่ ซีโอไลต์ชนิด HZSM-5, เหล็กบนถ่านกัมมันต์และ Co-MoบนAl2O3 นาตัวเร่งแต่ละชนิดมาผสมกับพอลิสไตรีนบรรจุลงในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็กมีความจุ 75 มิลลิลิตร ปรับอุณหภูมิการทดลองตั้งแต่ 350 ถึง 400 องศาเซลเซียส …

ความหลากหลายและการพัฒนาเห็ดทรัฟเฟิลในประเทศไทย

ศ. ดร.สายสมร  ลำยองภาคีสมาชิก เห็ดทรัฟเฟิลเป็นเห็ดรับประทานได้และมีราคาแพงแพงที่สุดในโลก เนื่องจากนิเวศวิทยาของเห็ดชนิดนี้อยู่ใต้พื้นดินและต้องอาศัยร่วมกับพืชอาศัยเท่านั้นจึงมีโอกาสพบได้ยาก อีกทั้งมีกลิ่นที่เป็นเอกลักณ์ พืชอาศัยตามธรรมชาติของเห็ดทรัฟเฟิล ได้แก่พืชตระกูล โอ็ค บีช และสน การค้นหาเห็ดทรัฟเฟิลอาศัยสัญชาตญาณการดมกลิ่นของสุนัขและสุกรเท่านั้น เห็ดทรัฟเฟิลแท้ตามวิทยาศาสตร์จัดอยู่ในสกุล Tuber เท่านั้น เห็ดทรัฟเฟิลส่วนใหญ่กระจายอยู่ในทวีปยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และเอเชียในพื้นที่ภูมิอากาศแบบหนาว โดยไม่สามารถพบในพื้นที่ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ปัจจุบันมีการค้นพบเห็ดทรัฟเฟิลมากว่า 296 ชนิด แต่มีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่เป็นที่นิยมบริโภค ราคาของเห็ดทรัฟเฟิลนั้นอยู่ระหว่างหนึ่งหมื่นบาทจนถึงสองแสนบาทต่อกิโลกรัม …

บริโภคไข่ Eating Eggs

ผัสพร ผ่องมาลัยสักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยาสมชัย บวรกิตติ ผู้นิพนธ์สองคนแรกเป็นนักวิทยาศาสตร์อาหาร คนท้ายสุดเป็นอายุรแพทย์จึงถูกถามบ่อยว่า บริโภคไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่นกกระทา อย่างไหนดี ไข่แดง ไข่ขาว มีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกันอย่างไร ควรบริโภคไข่วันละกี่ฟอง มื้อไหนดี ในส่วนต่าง ๆ ของไข่มีสารอาหารอะไรบ้าง มากน้อยเท่าไร ไข่ดิบ ไข่สุก ไข่ลวก มีประโยชน์แตกต่างกันไหม …

กระบวนการคั่วกาแฟโดยใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง

ณฐมล จินดาพรรณ๑ และ สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา๒๑ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม๒ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ เมล็ดกาแฟพันธุ์โรบัสต้า (Robusta coffee beans, Coffea canephora) มีความขม แต่มีความเป็นกรด ความหวาน ตลอดจนสมดุลของรสชาติด้อยกว่าเมล็ดกาแฟพันธุ์อราบิก้า (Arabica coffee beans, …

สถานการณ์พลังงานไทยและการจัดการ

ศ. ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ราชบัณฑิต ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประเทศไทยจัดหาพลังงานขั้นต้น ๑๓๖,๒๑๕ พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ โดยมีสัดส่วนการนำเข้ามากกว่าร้อยละ ๕๐ มีการแปรรูปซึ่งมีการสูญเสีย และนำไปใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมอื่นส่วนหนึ่ง เหลือใช้ในรูปของพลังงานขั้นสุดท้าย ๘๐,๗๕๒ พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ เมื่อจำแนกตามประเภทของพลังงานขั้นสุดท้ายที่ใช้ ที่สำคัญเป็นน้ำมันสำเร็จรูปร้อยละ ๕๐.๑ ไฟฟ้าร้อยละ ๒๐.๕ พลังงานหมุนเวียนร้อยละ ๙.๑ หากจำแนกตามสาขาเศรษฐกิจพบว่า ใช้ในสาขาขนส่งร้อยละ …

กลวิธานการเกิดมลภาวะอากาศ PM2.5 ในประเทศไทย เดือนมกราคม ๒๕๖๒

ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุลราชบัณฑิต ช่วงเดือนมกราคม ๒๕๖๒ ที่ผ่านไป ได้เกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาด PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานบริเวณกรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียงอย่างน้อย ๑๒ จังหวัด ได้แก่ นครปฐม ราชบุรี นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง อยุทยา อ่างทอง และปราจีนบุรี ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ …

การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ ๔ และรูปแบบเศรษฐกิจใหม่

ศ. ดร.ศุภชัย  ปทุมนากุลภาคีสมาชิก ในปัจจุบัน โลกกำลังเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (The Fourth Industrial Revolution) ซึ่งเป็นการปฏิวัติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งแตกต่างจากการปฏิวัติทั้ง 3 ครั้งที่ผ่านมา ที่การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ในขณะที่การปฏิวัติครั้งที่ 4 นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและเป็นแบบเอกซ์โปเนนเชียล (Exponential) ที่รวดเร็วมาก นอกจากเทคโนโลยีที่เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 แล้ว ปัจจัยทาง …

กัญชง/กัญชา

ศ. ดร.พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์ ภาคีสมาชิก กัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa subspecies sativa กัญชามีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกัน แต่อยู่ใน subsp. indica ชื่อสามัญที่นิยมใช้เรียกกัญชง คือ hemp ส่วนกัญชา คือ cannabis ส่วนชื่อพื้นเมืองก็เรียกแตกต่างกันออกไปอีกมากมาย พืชทั้งสองมีสารสาคัญในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids) มากกว่า 130 ตัว …

โรคเหตุแร่ใยหินในประเทศไทย: ประสบการณ์ในอดีต ผลงานปัจจุบัน และความหวังในอนาคต Asbestos-Related diseases in Thailand: Past Experience, Current & Future Perspective

ศ. ดร. นพ.สมชัย  บวรกิตติ ราชบัณฑิต การบรรยายวันนี้เป็นการเล่าประสบการณ์ในอดีตและปัจจุบันที่เกี่ยวกับโรคเหตุแร่ใยหินและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้ตั้งความหวังที่จะประสบผลที่จะบังเกิดในอนาคต ภาพ: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Asbestos-fibres.JPG

ภาพรวมของเทคโนโลยีการรีไซเคิลพลาสติก: กรณีศึกษาของประเทศญี่ปุ่น

ดร. วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุลราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาศาสตราจารย์กิตติคุณและศาสตราภิชานแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศาสตราจารย์กิตติคุณแห่งสถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียวที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยี (เต็มเวลา) บริษัท เอสซีจีเคมิคอลส์ จำกัด บทคัดย่อเศรษฐกิจแบบวงกลม (Circular Economy) ของพลาสติกต้องการให้มีการใช้พลาสติกลดลง (ในแง่ปริมาณการใช้งาน) นำกลับมาใช้ซ้า (หลายครั้ง) และนามารีไซเคิล (ในรูปแบบใหม่หรือแบบเดิม) ดังนั้น การกาจัดทิ้งพลาสติกในหลุมฝังกลบ (ทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย), ในทะเล / มหาสมุทร (การทุ่มทิ้งที่ผิดกฎหมาย) …

อุตสาหกรรมเกษตร : แมลงกินได้

ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริราชบัณฑิต , สำนักวิทยาศาสตร์ บทคัดย่อแมลงเป็นสัตว์ที่มีบรรพบุรุษและมีวิวัฒนาการมายาวนานกว่า ๓๐๐ ล้านปี แมลงเป็นสัตว์ที่มีมากที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์มากกว่า ๑ ล้านชนิด ในจำนวนนี้มีทั้งแมลงที่ให้คุณและให้โทษ พบว่ามีเพียง ๒,๐๐๐ ชนิด ที่เป็นศัตรูทำลายพืชผลทางการเกษตร และเข้ามารบกวนชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ หรืออาจก่อโรคให้กับมนุษย์ได้ นอกจากนี้แมลงส่วนใหญ่เป็นแมลงที่มีประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ทางการแพทย์ และที่สำคัญแมลงยังเป็นอาหารของมนุษย์ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ในอดีต จากการศึกษาของนักวิจัยกลุ่มต่าง …