ราชบัณฑิต
- โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๖ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ ประเภทวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำนักวิทยาศาสตร์
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
- กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์แพทย์ศาสตร์ วาระ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – พ.ศ. ๒๕๕๒)
ประวัติการศึกษา
- แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๑๗
- ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาอายุรศาสตร์ทั่วไป, ๒๕๑๘
- Diplomate of the Tropical Medicine and Hygeine. DTM&H (Gold Medal), ๒๕๑๙
- อนุมัติบัตรผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางสาขาอายุรศาสตร์ทั่วไป อ.ว. อายุรศาสตร์ทั่วไป แพทยสภา, ๒๕๒๔
- อนุมัติบัตรผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางสาขาประสาทวิทยา อ.ว. ประสาทวิทยา แพทยสภา, ๒๕๒๗
- Master of Medical Science, MMSc. (Clinical Epidemiology) Newcastle University, N.S.W., ประเทศออสเตรเลีย, ๒๕๓๑
- ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๑๒ จากวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร, ปรอ ๑๒, ๒๕๔๓
ประวัติการทำงานวิชาการ
- อาจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๒๒
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๒๓
- รองศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๒๗
- ศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๓๔
- ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๔๑
- หัวหน้าสาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๔๑–ปัจจุบัน
- บรรณาธิการวารสารราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖–๒๕๔๙
ผลงาน
ตำรา
- Haemorrhagic stroke : specific issue in trial design. Bailliere Tindall, London, ๒๕๒๓
- โรคหลอดเลือดสมอง. เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๔
- โรคพาร์กินสัน. เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๕
- Prevalence of dystonia and accupational cramps in Thailand. Elsevier Science, Philadelphia, 2536
- โรคหลอดเลือดสมอง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๔๔
งานวิจัย
- “Epidemiology of stroke in the elderly in Thailand.” Journal of Medical Association of Thailand, ๒๕๔๑
- “Stroke epidemiological data of nine Asian countries.” Journal of Medical Association of Thailand, ๒๕๔๓
- “Steroids have no role in stroke therapy.” Stroke, ๒๕๔๗
- “Grave prognosis on spontaneous intracerebral haemorrhage: GP on stage score.” Journal of Medical Association of Thailand, ๒๕๔๙
- ฯลฯ
เกียรติคุณที่ได้รับ
- รางวัล “เหรียญทอง” ในฐานะที่ได้คะแนนเป็นที่ ๑ ตลอดหลักสูตรอายุรศาสตร์เขตร้อน (DTM&H) คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๑๙
- ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิ “อานันทมหิดล” สาขาแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาต่อใน สาขาวิชาประสาทวิทยา ณ โรงพยาบาล Royal Victoria Infirmary เมือง Newcastle upon Tyne ประเทศอังกฤษ, ๒๕๒๐
- ทุนมูลนิธิ “รอคกี้เฟลเลอร์” ให้ไปศึกษาต่อในวิชาระบาดวิทยาคลินิก ณ Newcastle University, New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย, ๒๕๒๖
- รางวัล “เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี” ในฐานะครูแพทย์ดีเด่น ผู้อุทิศตนเพื่อการสอนทาง
- ด้านคลินิกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๓๒
- รางวัล “อาจารย์ตัวอย่าง” ของสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๓
- รางวัล “ผลงานวิจัยดีเยี่ยมทางคลินิก ประจำปี ๒๕๓๕” ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, ๒๕๓๕
- รางวัล “Man of Achievement Award” จาก International Biographical Centre, Cambridge ประเทศอังกฤษ, ๒๕๓๕
- รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย
- รางวัลและยกย่องเป็น “International Man of the Year 1993” จาก International Biographical Centre, Cambridge ประเทศอังกฤษ, ๒๕๓๖
- รางวัลและยกย่องเป็น “WHO’S WHO OF THE YEAR 1993” จาก American Biographical Institute, Inc. สหรัฐอเมริกา, ๒๕๓๖
- ได้รับโล่เกียรติคุณ “นักบริหารผู้มีคุณธรรมและจรรยาบรรณดีเด่น” ประจำปี ๒๕๓๘ และได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ๓ ประเภทคือ นักบริหารงาน “วารสารการแพทย์ จรรยาบรรณดีเด่น” นักบริหาร “ผู้มีคุณธรรมดีเด่น” นักบริหารดีเด่น “สาขาบริหารผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม” จากสโมสรนักบริหารจรรยาบรรณดีเด่น นิตยสารศูนย์ข่าววิทยุและโทรทัศน์ และนิตยสารผู้นำนักบริหาร
- “ศิษย์เก่าดีเด่น” ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๐
- “บุคคลตัวอย่างแห่งปี ๒๕๔๒” โดยมูลนิธิเพื่อสังคมไทย
- แพทย์ดีเด่น “รางวัลทุนสมเด็จพระวันรัต” ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จากแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย
- “ศิษย์เก่าแพทย์ศิริราชดีเด่น” สาขาผลงานด้านวิชาการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๖ จากสมาคมศิษย์เก่าแพทย์ศิริราชในพระบรมราชูปถัมภ์
- “ข้าราชการดีเด่น” ประจำปี ๒๕๔๘ ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
ฐานข้อมูลวิชาการ
- Google Scholar